คณะทำงาน soft powerActivityแถลงข่าว แรงบันดาลใจ ในการจัดสร้างประติมากรรมจำลอง องค์สุริยะเทพ ศรีเทพ มรดกโลก
วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๖ ยูเนสโก ประกาศให้มืองโบราณศรีเทพ เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรรม ซึ่งเป็นแห่งที่ ๔ ของไทยและเป็นมลกกโลกแห่งที่ ๙ ของประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางกางการว่า The Ancient Town of Si Thep and its Associated Dvaravaravati
Monuments การขึ้นทะเบียนมวดกโลกครั้งนี้เป็มความภาคภูมีใจของไทยและถือเป็นการสร้างความตระหนักรู้ในระดับสากลต่อศูนค่าและความสำคัญของแหล่งเมืองโบราณศรีเทพในฐานะมรดกโลกทางวัฒนธรรม ทวมถึงเป็นจดเริ่มของการมสามความความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกันของภาคส่วมต่าง ๆ ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู คุ้มครอง และป้องกัน เมืองโบราณศรีเทพให้เป็นแหล่งเป็ยนรู้และสมเบัติของคนรุ่นใหม่และคนทั้งโลกต่อไป
คร.วริศรียา บุญสม และ ผศ.สุรัฐ บุญทรง ผู้อำนวยการวิทยาลัยเพาะช่าง ร่วมกับ ดร.ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย ประธานคณะทำงาน Soft Power Activity จึงใต้ร่วมกันจันจัดทำ ประติมากรรมจำลอง องค์สุริยเทพ เป็นที่ระลึกเมืองโบราณศรีทพ มรตกโลก วัสดุหินทราย ขนาด ๑ นิ้ว ไม่รวมฐาน ให้ผู้ที่สนใจใจใต้จองในจำนวนจำกัด 5.000 องค์ในราราคา 8,999 บาทเองศ์ และมีเลขกำกับประจำองค์พรัอมใบรับรองโดยจารึกชื่อผู้ประสงค์จองบริเวณฐานองค์โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1.เพื่อนำรายได้ส่วนหนึ่งสมทบทุนสร้างศาลาเอนกประสงค์วัดป่านาตะกรุด ตำบลศรีเทพอำเภอศรีเทพจังหวัดเพชรบูรณ์
2. เพื่อจัดสร้างประติมากรรมจำลองพระสุริยเทพ ขนาดเท่าองค์จริง เพื่อมอบให้กับอุทยานประวัติศาสตรีเทพ
3. เพื่อกิจกวรมสาธาวณประโยชนใน"โคงการ สืบสานภูมิปัญญสมาเมืองแห่งศิลปะสกุลช่างศรีงทพ"ของ คณะทำงทำงางาน Soft Power Activity
4. เพื่อการสร้างความตระหนักรู้ในระดับสากลและเผยแผ่ ศิลปวัฒนธรรมเมืองโบราณศรีทพในฐานะมรดกโลกทางวัฒนธรรม.
5.ส่งเสริมบทบาทอันเข็มแข็งของชุมชนศรีทพในการส่งเสริมการเรียนรู้เข้าถึงพัฒนาและสงวนรักษาศิลปวัฒนธรรมเมือง
โบราณศรีเทพ ให้แก่ชนรุ่นหลังต่อไป
การสร้างประติมากรรมจำลอง "องค์สุริยเทพ " เมืองโบราณศรีเทพ มรดกโลก ได้รับจดสิทธิบัตรทางปัญญาจากกรมสิทธิทางปัญญา ในวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. 2567 นับเป็นครั้งแรกของประเทศไทยจุดเริ่มต้นของสร้างแบนรด์ 'เฮอริเทจ ออฟ ศรีเทพ Heritage Of Spithap"เนื่องจากชุมชนศรีเทพ อยู่ในพื้นที่มรดกโลกซึ่งมีโดดเด่นในด้านเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ขอน์ของยุคทราวดีที่คาแรคเตอร์ ชัดเจนที่ขอใช้คำว่า "คาแรคเตอร์ข้ามกาลเวลา"มากว่า 1800 ปี พอได้ลงพื้นที่ในชุมชนก็เห็นถึงปัญหาที่ยังชาตการสนับสนุนในการสร้างจุดแต่นของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากปัญหาที่สำคัญ ก็คือ ชุมชนไม่มีผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง ที่นักท่องจะซื้อ เป็นของที่ระลึกหรือเป็นของฝากได้ ทั้งๆที่ขาวชุมชนเองก็มี DNA ของสกุลช่างศรีเทพ อาจเป็นเพราะขาดแรงกระตุ้นและขาดทักษะองค์ความรู้ ในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัตภัณฑ์จึงได้นำเรื่องนี้ไปปรึกษาผศ.สุวัฐ บุญทรงผู้อำนวยการ วิทยาลัยเพาะช่าง ก็ได้รับความร่วมมือจากผอ.ได้จัดทำกาวสอน หลักสูตรงานช่าง 4 หลักสูตรประกอบไปด้วย1.ช่างเขียน 2. ช่างปั้น 3. ช่างหล่อ และ4.ช่างแกะ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบ ปรับปรบปรงเพื่อส่งเสริม ให้เกิดมูลค่านำไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากอัตลักษณ์ของเมืองโบราณศรีเทพโดย โดยการสอนนั้นจะเน้นสื่อสารอย่างตรงไปตรงมาและถ่ายทอดเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์ แล้วเพิ่มไลฟ์สไตส์ใส่รสนิยมลง ไปจากนั้นร้อยเรียงเป็นเรื่องเล่า ด้วยเสน่ห์ของซุนท้องถิ่น การจะใช้เสน่ห์ของ อัตลักษณ์ต้องถิ่นมาต่อยอยอดสู่ เชิงพาณิชย์ โดย เน้น 3 สิ่งคือ วัสดุ ทักษะ และช่างฝีมือ ที่จะเป็นตัวหล่อหลอมความเป็น พื้นบ้าน รากฐานแห่งการสร้างผลิตภัณฑ์และเพื่อสร้างความต่อเนื่องร้อยเรียงให้เป็นเรื่องเดียวกัน เมื่อชาวชุมชนที่ได้เรียนหลักสตรงานทั้ง 4 หลักสูตรแล้วเรา ก็จะไปต่อยอดไปสร้างกิจกรรมที่สร้างสรรค์ DIY (Do it yourself) ของผลิตภัณฑ์ชมชน เพื่อให้นักท่องท่องที่ยวมส่วนร่วมในกระการผลิตสินค้า ซึ่งจะทำให้นักท่องเที่ยวได้เห็นถึงถึงคุณค่าของสินค้า ส่งผลให้ชุมชนเป็นที่รู้จัก และเป็นการส่งเสริมการท่างที่ควในชุมชมอีกทางหนึ่งด้วย
จึงเกิดแนวคิดในการทำธุรกิจวิสาหกิจเพื่อสังคมชุมชนศรีเทพภายใต้ชื่อ Brand "เฮอริเทจ ออฟ ศรีเทพ Heritage Of Spithap" ที่จะต่อยอดจากโครงการสืบสานภูมิปัญญาเมืองแห่งศิลปะสกุลช่างศรีเทพที่โดยโครงการอบรมเชิงปฏิบัติสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนนี้จะสิ้นสุดในเดือน กันยายน ที่จะถึงนี้ โดยแนวคิดในจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อสังคมชุมชนศรีเทพนี้ เราจะนำต้นทุนทางวัฒฒนธรรมทวารวดี (Dvaravati Cu/tural Hentage) มาสร้างนวัตกรรมเป็นผลิตภัณฑ์ศรีเทพพมรดกโลก ภายใต้นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือSoft Powerเป็นแนวทาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยนำความคิด ภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้วมาต่อยอดในการออกแบผลิตภัณฑ์ เป็นสินสินค้าอัตลักษณ์พื้นถิ่น ที่มีความโดดเด่น นำมาสร้างเรื่องราว พัฒนาสร้างสรรค์ โดยเฉพาะการส่งเสริมในการจดสิทธิบัต: IP (Intellectual Property) เพื่อให้เกิดการคุ้มครองและป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงโลกที่กำลังเข้าสู่ เศรษฐษษฐกิจดีทัล
เป็นช่องทางใหม่ทางการตลาด ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น